หมวดหมู่ การดูแลสุขภาพใจสำหรับองค์กร

จิตวิทยาผู้นำ ทำทีมให้เป็นทีม ด้วยการสร้างพื้นที่ปลอดภัย Psychological Safety for Team Building

Psychological-Safety-101
การพัฒนาจิตวิทยาผู้นำในการสร้างทีมให้เป็นทีม ด้วยการสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้เกิดขึ้นในองค์กร จำเป็นต้องมีกลยุทธ์ นโยบาย และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างพื้นที่ปลอดภัยทางใจให้พนักงาน

พื้นที่ปลอดภัยทางจิตใจกับการพัฒนาองค์กร [Psychological Safety in the workplace & Organizational Development]

psychological safety and organization development พื้นที่ปลอดภัยทางจิตใจกับการพัฒนาองค์กร
ปัญหาในองค์กรที่ทำให้พนักงานเกิดความเครียด วิตกกังวล อาจมาจากปัญหาของการที่ไม่มีแบบอย่างผู้นำที่สร้างความปลอดภัยทางจิตใจในที่ทำงาน (Psychological Safety)

เพิ่มความเข้มแข็งทางจิตใจให้กลุ่มพนักงานรุ่นใหม่ ด้วย Self-empathy

สร้างเกราะคุ้มกันใจด้วย self-empathy
การพัฒนาสุขภาพจิตในกลุ่มพนักงานรุ่นใหม่ คือการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจให้เพิ่มขึ้น ด้วยการพัฒนาความเข้าอกเข้าใจตนเอง (self-empathy)

Performance Intervention Using a Psychological Approach | วิธีดูแลสุขภาพจิต ให้ส่งผลต่อประสิทธิภาพพนักงาน

หากองค์กรต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านสุขภาพจิตของพนักงานให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน มีการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของพนักงานแล้ว ย่อมจะต้องใช้วิธีการสนับสนุน หรือ แทรกแซงด้วยแนวทางจิตวิทยาเชิงรุก (proactive psychological support/intervention approarch)

Green Running | วิ่งสู้ฟัด (ปัญหาสุขภาพใจ)

กิจกรรมวิ่งแบบ outdoor เพื่อช่วยจัดการปัญหาสุขภาพจิต เพิ่มความสุข และจัดการปัญหาเชิงจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของพนักงานในองค์กร

Green Running | วิ่งสู้ฟัด (ปัญหาสุขภาพใจ)

กิจกรรมวิ่งแบบ outdoor เพื่อช่วยจัดการปัญหาสุขภาพจิต เพิ่มความสุข และจัดการปัญหาเชิงจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของพนักงานในองค์กร

สุขภาพจิตของผู้หญิงในสถานที่ทำงาน | Women’s Mental Health at Work

inter-women-day-2024
ปัญหาด้านสุขภาพจิตของผู้หญิงในสถานที่ทำงาน (women's mental health at work) สะท้อนความซับซ้อนในปัญหาที่หลายครั้งผู้บริหารที่วางนโยบายการดูแลสุขภาพจิตของพนักงานมักมองไม่รอบด้าน แท้ที่จริงแล้วควรมองข้ามความเป็น “พนักงาน หรือลูกจ้าง” ไปให้เห็น “มนุษย์” ที่มีชีวิตนอกเหนือจากสถานที่ทำงาน ชีวิตด้านอื่น ๆ ก็สามารถส่งผลต่อการทำงานเป็นอย่างมากเช่นกัน

Unlock Yourself: ก้าวผ่านความกลัว

โดยทั่วไปความกลัวนั้นมีหลายแง่มุม คนเราอาจกลัวหลายอย่างในเวลาเดียวกัน และบางครั้งความกลัวนั้นถูกซ่อนไว้ ทำให้เราใช้ศักยภาพตนเองได้ไม่เต็มที่ หรือจำกัดการพัฒนาตนเอง เช่น กลัวการสูญเสีย กลัวการเริ่มต้น กลัวไม่มีเงิน กลัวไม่เป็นที่ยอมรับ กลัวการอยู่ลำพัง กลัวแก่ กลัวอายุสั้น กลัวป่วย หรือแม้กระทั่ง กลัวการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น แน่นอนว่าการเปลี่ยนแปลงก้าวข้ามความกลัวไม่ได้เกิดขึ้นชั่วข้ามคืน ด้วยการร่วมกิจกรรมเพียงครั้งเดียว

ความสุขทางจิตวิญญาณ #3 | หนึ่งในตัวช่วยด้านสุขภาพใจสำหรับพนักงานจนถึงผู้บริหาร (Spiritual Well-being)

การบูรณาการงานกับชีวิตให้เป็นหนึ่งเดียวกันจึงกลายเป็นอีกหนึ่งแนวคิดสำคัญ แม้แต่การที่เราอาจต้องลองมองหาความสุขทางจิตวิญญาณที่สัมพันธ์กับงานท

ความสุขทางจิตวิญญาณ #2 | หนึ่งในตัวช่วยด้านสุขภาพใจสำหรับพนักงานจนถึงผู้บริหาร (Spiritual Well-being)

การมีแหล่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจจะช่วยให้เรามีความแข็งแกร่งภายในจิตใจขึ้นมา รู้สึกมีความหวัง มองเห็นคุณค่าในตัวเองและคุณค่าของสิ่งต่างๆ รอบตัว